เมนู

3. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
เจตนาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และ
โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
8. สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ
กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

14. วิปากปัจจัย


[473] 1. สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
มี 1 วาระ.

15. อาหารปัจจัย


[474] 1. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
มี 4 วาระ.

16. อินทริยปัจจัย ฯลฯ 19. สัมปยุตตปัจจัย


ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

มี 4 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี 4 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี 4 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี 6 วาระ.

20. วิปปยุตตปัจจัย


[475] 1. สัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
2. สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
3. สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่